ตั้งเวลาให้เครื่องทำการเปิดและ

ตรวจวัดระดับเสียงได้อัตโนมัติ 

​โดยไม่ต้องควบคุมจาก

ผู้ทำการตรวจวัด

เป็นที่รู้กันดีอยู่แล้วว่าการสัมผัสเสียงดังเป็นเวลานาน จะมีผลต่อความสามารถในการได้ยินในอนาคต ดังนั้นทั่วโลกจึงให้ความสำคัญต่อผู้ปฏิบัติงานที่ต้องสัมผัสเสียงดังในระหว่างการทำงาน เป็นที่มาของกฎหมายคุ้มครองแรงงาน 


ในประเทศไทย กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ก็ได้มีการออกกฏหมายเกี่ยวกับเสียง เพื่อบังคับใช้โดยที่นางจ้างจะต้องทำการตรวจวัดระดับเสียงภายในสถานประกอบการและรายงานผลต่อกรมโรงงานทุกปี   สามารถดาวโหลดเอกสารกฏหมายเสียงจากลิ้ง 


โดยในบทความ เขียนขึ้นเพื่อแนะนำวิธีการเลือกใช้เครื่องวัดเสียงที่เหมาะสมสำหรับการตรวจวัดเสียงตามคำแนะนำของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ดังต่อไปนี้ 


1. ไมโครโฟนของเครื่องวัดเสียงจะต้องได้มีความแม่นยำอย่างน้อย Class 2 ตามมาตรฐาน IEC61672 ซึ่งตามมาตรฐานยอมให้เครื่องวัดเสียงมีความคลาดเคลื่อนไม่การวัดแต่ละครั้งไม่เกิน +- 1.5 เดซิเบล  โดยหากเปรียบเทียบความคลาดเคลื่อนระหว่าง Class1 และ Class 2 จะพบว่าความคลาดเคลื่องของ Class2 จะสูงกว่า โดยเฉพาะในช่วงความถี่ต่ำและความถี่สูง  (สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติ่มของความแตกต่างระหว่าง Class 1 และ Class ได้ที่  http://www.getbestsound.com/class1vsclass2.html


2. เครื่องวัดเสียงต้องสามารถกำหนดค่าถ่วงน้ำหนักความถี่ (Frequency Weighting) ได้ โดยเฉพาะ       A- Weighting และ C- Weighing ซึ่งมีการระบุไว้ในกฏหมายอย่างชัดเจน 


3. เครื่องวัดเสียงต้องสามารถกำหนดค่าถ่วงน้ำหนักเวลาได้ (Time Weighting) ได้ โดยเฉพาะ Fast, Slow 


4. เครื่องวัดเสียงจะต้องคำนวณค่าผลวัดเสียง (Parameter) ได้แก่ Leq, Lmax, Lpeak ได้ ซึ่งตามกฏหมายแล้ว จะต้องพิจารณา คือ LAeq, LAmax, LCpeak (หากเครื่องวัดเสียงสามารถวิเคราะห์เสียงแยกตามความถี่ได้จะยิ่งมีประโยชน์อย่างมากในการวิเคราะห์พฤติกรรมของเสียง


เช่น หากความถี่ที่ผู้ปฏิบัติงานไม่ตรงกับความถี่หลังของเสียงรบกวนภายในสถานประกอบการณ์ แสดงว่าเสียงในสถานที่ทำงานไม่ได้สาเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติมีสภาพสูญเสียการได้ยิน 


หรือการรู้ความถี่เสียงช่วยในการออกแบบการควบคุมเสียงรบกวนได้อย่างมีประสิทธิภาพ


5. เครื่องวัดเสียงต้องมีผลการสอบเทียบตามมาตรฐาน IEC 61672 เพื่อให้แน่ใจว่าเครื่องวัดเสียงและไมโครโฟนนั้นมีค่าความแม่นยำและค่าความคลาดเคลื่อนอยู่ในเกณฑ์ที่มาตรฐานกำหนดไว้หรือไม่ 


6.  เครื่องวัดเสียงควรจะสามารถบันทึกเสียงที่ทำการวัดได้ เพื่อนำมาใช้ฟังทีหลัง ถือว่าเป็นฟังก์ชั่นที่สำคัญมากเพราะ ในกรณีที่ระดับเสียงเกินมาตรฐาน มักจะมีคำถามตามมาเสมอว่าเสียงที่เกิดคือเสียงอะไร จะได้ปรับปรุงแก้ไขปัญหาได้อย่างตรงจุด


7. เครื่องวัดเสียงจะต้องวัดระดับเสียงแบบ Peak ได้ถึง 140 dBC หากไม่ถึงถือว่าไม่ผ่านมาตรฐานตามที่กฎหมายระบุ 

สามารถเลือกใช้ได้ทั้ง

ถ่าน Li-PO (สูงสุด 6 ชั่วโมง)

หรือถ่านแบบ AA จำนวน 4 ก้อน

(สูงสุด 22-24 ชั่วโมง)   

ปุ่มแสดง 3 สี (เขียว เหลือง แดง) 

ตามค่าระดับเสียงที่กำหนด 

แจกฟรี สรุปกฏหมายเสียงใหม่ ตามกฏกระทรวงแรงงาน ปี 2559-2561 

เครื่องวัดเสียงสำหรับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 

บริษัท เก็ต เบสท์ โซลูชั่น จำกัด 

ตัวแทนจำหน่ายเครื่องวัดเสียง NTi อย่างเป็นทางการในประเทศไทย 

ให้คำแนะนำการใช้งานเครื่อง โดยวิศวกรที่จบด้านเสียงและความสั่นสะเทือนโดยตรงจากสถาบันที่ทั่วโลกให้การยอมรับ 


สนใจติดต่อเพื่อเข้าไปนำเสนอสินค้า


ติอต่อ ภูมิใจ ประเสริฐกุลวงศ์

(Msc. Sound and Vibration Studies, University of Southampton, UK) 


Mobile: 062-195-1909 

Line id: satan_boat


E-mail: sale@getbestsound.com 


เครื่องวัดเสียง NTi รุ่น XL2 ชุด Standard มีฟังก์ชั่นการตรวจวัดที่เหมาะสมสำหรับ

การวัดเสียงในงานอาชีวอนามัย และความปลอดภัย โดยมีฟังก์ชั่นหลักดังต่อไปนี้ 

วีดีโอสอนหลักการในการวัดเสียง

M4160 ไมโครโฟร Class

ตามมาตรฐาน IEC 61672

มีเอกสารสอบเทียบตาม

มาตรฐาน IEC จากโรงงานผู้ผลิต

ดูข้อมูลผลวัดย้อนหลังผ่านหน้าจอ

เครื่องวัดได้โดยตรง โดยไม่จำเป็นต้องเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์

ข้อมูลผลวัดบันทึกไว้ใน

SD Card สามารถถอดไปดึงข้อมูล

ผ่าน Card Reader ได้ทันที 

ในรูปแบบ ของ Text file สามารถ

​นำข้อมูลไปวิเคราะห์ด้วย Excel หรือ โปรแกรม Data Explosure ได้ 

วัดความดังได้ตั้งแต่ 

25 dBA-141 dB(Peak)

วิเคราะห์ระดับเสียงได้ทั้งแบบ

1/1 และ 1/3 ออกเตฟ

ตั้งแต่ 6.3 - 20,000 Hz


บันทึกข้อความเสียง

เพื่อเตือนความจำ

​ระหว่างการวัด

หน้าจอแสดงผลว่าได้ทั้ง 

LAF (ระดับเสียง ณ เวลานั้น) 

​Lmax

LAeq 

LCpeak 

แสดงผลการการวัดเทียบตามเวลา

Logging 


บันทึกเสียงที่วัด 

ในรูปแบบของ Wav file 

เพื่อใช้ฟังเสียงที่ถูกวัด

​ในภายหลังเพื่อการวิเคราะห์ได้ 

สั่งซื้อ หรือสอบถามเพิ่มเติม จากวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ
Mobile: 062-195-1909 
Line id: @GETBEST